
การดูแลสุขภาพของตัวเราเป็นสิ่งจำเป็นมาก เราจะเห็นคุณค่าของสุขภาพเมื่อ
เราเจ็บไข้ได้ป่วย ตัวเราเองเป็นคนดูแลสุขภาพของตัวเราเองได้ดีที่สุด สุขภาพจะดีได้จิตใจต้องมาก่อน และตามมาด้วยร่างกายที่สมบูรณ์ การเรียนรู้การดูแลรักษาทั้งร่างกายและจิตใจจึงมีความสำคัญมาก
อาการปวดคอ เกิดจากหลายสาเหตุ เช่น
1. อิริยาบถผิดท่า
2. ความเครียด
3. พักผ่อนไม่เพียงพอ
4. คอเคล็ดขัดยอก
5. ภาวะข้อเสื่อม
6. เกิดจากอุบัติเหตุโดยตรง
7. เกิดจากโรคต่างๆ
2. ความเครียด
3. พักผ่อนไม่เพียงพอ
4. คอเคล็ดขัดยอก
5. ภาวะข้อเสื่อม
6. เกิดจากอุบัติเหตุโดยตรง
7. เกิดจากโรคต่างๆ
ทั้งจากการที่กล้ามเนื้อคอทำงานมากเกินไป
เกิดจากอุบัติเหตุ หรือจากโรคที่เกี่ยวกับกระดูกสันหลังส่วนคอ เช่น กระดูกเสื่อม
เหล่านี้มีข้อควรระวัง และท่าบริหารคอและไหล่ เพื่อที่จะได้บรรเทาจากการเจ็บปวด
YOGA FOR
NECK PAIN
ป้องกันปวดหลังปวดคอ
10Feb11
บริหารแก้ปวดคอ
อาการปวดคอ
ต่อมาจะมีอาการปวดมากขึ้น
ระคายเคืองในต้นคอ บ่าผู้ป่วยมักจะสะบัดคอ ดัดคอเพื่อรู้สึกโล่งไป
แต่มักจะทำบ่อยขึ้นจนมีอาการร้าวลงบ่า ลงแขน ลงสะบัก (โบราณเรียกว่าสะบักจม)
มีอาการเจ็บศอก เวลาหิ้วของยกของอาจเป็นด้านนอก หรือเป็นด้านในด้วยก็ได้ (เรียก Tennis elbow หรือ Polf elbow) บางทีมีอาการคล้ายข้อมือซ้น เริ่มอ่อนแรง
หยิบของหลุดตก เปิดฝาขวดไม่ได้ มือไม่มีแรง ลายมือเปลี่ยน
หยิบสตางค์ไม่ขึ้นจนถึงด้วยตกแตก อาจเจ็บโคนนิ้วมือ โคนหัวแม่มือเหยียดงอ ติดกึ๊กๆ
(Trigger fingers)
(Trigger fingers)
ต่อมาจะเจ็บไหล่
นอนตะแคงไม่ได้เพราะไหล่ติดแระร้าวลงไปที่กล้านเนื้อรอบๆ ต้นแขน
กล้ามเนื้อไหล่และต้นแขนข้างนั้นจะลีบลงเรื่อยๆ
ส่วนมากมักจะพบบริเวณที่ประสาทกำลังถูกกดทับ ทำให้กล้ามเนื้อหน้าอกข้างนั้นลีบ
แขนเสื้อตกบ่อยๆ
เป็นมากจะปวดหัวข้างเดียวหรือสองข้าง
หรือปวดทั้งหัว ตาพร่าคล้ายตาอักเสบ ปวดรอบกระบอกตา ลมออกหู หายใจไม่เต็บอิ่ม
เวียนหัวบ้านหมุน คลื่นไส้อาเจียนได้ ทำให้ต้องคิดไปถึงโรคเนื้องอกในสมอง, โรคตา, โรคหู-คอ-จมูก, โรคหัวใจ, โรคปอด ได้การปฏิบัติตนเพื่อป้องกันอาการปวดคอ
1. ไม่อยู่ในอิริยาบถเดียวนาน ๆ
2. ไม่ก้มหรือเงยมากเกินไป ไม่หมุนคออย่างรวดเร็ว
3. หลีกเลี่ยงการก้ม, เงย, การนอนศีรษะสูง
4. ไม่นั่งค่อม - สัปหงก และไม่นั่งหลับตาขณะรถวิ่ง
5. โต๊ะทำงานควรสูงพอกับระดับมือ ศอกสูงกว่าระดับโต๊ะเล็กน้อย เก้าอี้มีที่วางแขน
6. ลุกและลงนอนโดยใช้ท่านอนตะแคง ขึ้นและลงจากที่นอนโดยใช้ข้อศอกยันพื้น ไม่ควรนอนคว่ำ
7. ที่นอนและหมอนแน่นพอดี หมอนกว้างรับส่วนแอ่นของคอในท่านอนหงาย และสูงกว่าระดับไหล่
8. ถ้ามีอาการปวดรุนแรง ใช้น้ำอุ่นประคบ ถ้าไม่ทุเลาควรไปพบแพทย์
9. ถ้ามีอาการปวดห้ามเดินทาง ในถนนที่ขรุขระ มีหลุมบ่อ ห้ามเล่นกีฬาที่กระทบกระเทือนต่อคอ เช่นกระโดดเชือก แบดมินตัน
10. บริหารกล้ามเนื้อคอ และไหล่สม่ำเสมอ
ที่มา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น